Accuracy : 94.48%
Insertion : 49
Deletion : 122
Substitution : 21
Correction : 3337
Reference tokens : 3480
Hypothesis tokens : 3407

[เสียงดนตรี](คุณครูนุกูล)สวัสดีค่ะสำหรับคลิปนี้นะคะคุณครูก็จะมาแนะนำการใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการหาห.ร.ม.ง่ายๆกันตค่ะจุดประสงค์ในการเรียนรู้หลังจากที่นักเรียนศึกษาคลิปนี้นะคะก็ประกอบไปด้วย3ข้อค่ะก็คือข้อที่1.นะคะต้องใช้หลักการแนวคิดเชิงคำนวณเพื่อแก้ปัญหาได้ค่ะข้อที่2นะคะขั้นตอนวิธรเปรียบเทียบและวิเคราะห์ขั้นตอนวิธ-ีแก้ปัญหาจากโจทย์ที่กำหนดและข้อ3ค่ะใช้ขั้นตอนวิธีเพื่อแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันได้ค่ะเรามารู้จักตัวหารร่วมมากหรือห.ร.ม.กันเลยคกันก่อนเลยค่ะห.ร.มของตัวเลขจำนวนเต็มบวกที่มากที่สุดที่สามารถหารจำนวนเต็มสอง(2)จำนวนนั้นลงตัวนั่นเองค่ะจากนิยามการหาห.ร.ม.นะคะเราจะเห็นได้ว่าโดยการนำจำนวนเต็มบวกตั้งแต่1,2,3ไปเรื่อยๆจนถึงค่าที่น้อยที่สุดมาหารทั้ง2จำนวนและเก็บค่าที่มากที่สุดที่หารตัวเลขทั้งสอง(2)ลงตัวไว้เมื่อครบทุกจำนวนแล้วนะคะเมื่อ(จำนวน)เลขที่หารทั้ง2จำนวนลงตัวก็จะถือเป็นตัวหารร่วมมากหรือห.ร.ม.นั่นเองค่ะวิธีการดังกล่าวไม่ยากเลยใช่ไหมคะถ้าเป็นตัวเลขจำนวนน้อยๆแต่ถ้าเป็นตัวเลขจำนวนมากๆแบบนี้ล่ะคะเราคงใช้วิธีเดิมไม่ได้แน่เลยใช่ไหมคะแล้วเราจะหาห.ร.มของตัวเลขจำนวนมากๆแบบนี้ได้อย่างไรกันล่ะคะวันนี้ครูก็จะเสนอวิธีหารร่วมมากแบบยูคลิดเรามารู้จักeuclidกันเลยดีกว่าค่ะeuclidเป็นนักคณิตศาสตร์ชาวกรีกที่มีชีวิตอยู่ในช่วง300ปีก่อนคริสต์ศักราชโดยeuclidได้บันทึกการหาห.ร.ม.ไว้ในหนังสือที่ชื่อว่า"theelements"ซึ่งหนังสือชุดนี้ประกอบไปด้วย13เล่มโดยได้กล่าวถึงเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ไม่ว่าเรขาคณิตจำนวนอตรรกยะทฤษฎีจำนวนที่ถือว่าเป็นต้นแบบของคณิตศาสตร์ในปัจจุบันกันเลยค่ะรู้จักeuclidกันแล้วนะคะเรามาลองหาวิธีการขั้นตอนวิธีการหาห.ร.มของยุคลิด(euclid)ไปใช้กันเลยค่ะขั้นตอนที่1นะคะเราก็จะเขียนจำนวนที่ต้องการหาห.ร.ม.มาเรียงต่อกันขั้นตอนที่2นะคะพิจารณาจำนวนที่น้อยกว่าค่า1ค่าที่น้อยกคำตอบก็คือจำนวนที่มากกว่าแล้วก็จะจบการทำงานโดยค่าที่น้อยกว่าของเราตอนนี้คือ14ที่ไม่เท่ากับ0ดังนั้นเราจะทำขั้นตอนถัดไปค่ะหารจำนวนที่มากกว่าด้วยจำนวนที่น้อยกว่าจากนั้นนะคะเราจะเขียนเศษที่ได้จากหารหารแทนจำนวนที่มากกว่าพิจารณาจำนวนที่น้อยกว่าอีกครั้งนะคะว่ามีค่าเท่ากับ0หรือไม่นะคะซึ่งตอนนี้เงื่อนไขของเรายังไม่เป็นจริงนะคะขั้นตอนถัดไปนะคะเราก็จะพิจารณาหารจำนวหารจำนวนที่มากกว่าด้วยจำนวนที่น้อยกว่าค่ะเขียนเศษที่ได้จากการหารแทนจำนวนที่มากกว่าอีกครั้งค่ะซึ่งเศษจากการที่ได้จากการหารของเราเป็นเงื่อนไขของเราก็จะเป็นจริงแล้วนะคะเราก็จะพบว่าห.ร.ม.ของ21และ14ก็คือ7นั่นเองค่ะซึ่งเราสามารถสรุปขั้นตอนวิธีของeuclidได้ดังนี้ค่ะ[เสียงดนตรี](คุณครูนุกูล)ทีนี้เราลองมาหาห.ร.มของจำนวน187กับ221จากตัวอย่างในหนังสือเรียนกันดูนะคะในรอบที่1นะคะจำนวนที่น้อยกว่ายังไม่เป็น0คำนวณเศษของการหาร221ด้วย187ขอได้34ดังนั้นเราจะเขียนแทน221ด้วย34ในรอบที่2ค่ะในรอบที่2นะคะจำนวนที่น้อยกว่าก็ยังไม่เป็น0นะคะเศษของการหาร221จาก34ดังนั้นเราก็จะเขียนแทย(น)187ด้วย17ในรอบที่3ค่ะในรอบที่3นะคะจำนวนที่น้อยกว่าก็ยังไม่เป็น0ค่ะคำนวณหา34ด้วย17ด้วย0จากนั้นเราจะหา34ด้วย0ในรอบที่4ค่ะในรอบที่4นะคะจำนวนที่น้อยกว่ามีค่าเป็น0ดังนั้นห.ร.ม.ของ187และ221ก็คือ17นั่นเองค่ะจะเห็นว่าเราฝ(ใ)ช้แค่4รอบเท่านั้นก็จะทราบจำนวนห.ร.ม.ของ187และ221แล้วใช่ไหมคะและถ้านักเรียนสังเกตดูนะคะนักเรียนก็จพบว่าในแต่ละรอบนี่ก็จะมีรูปแบบการทำงานคล้ายกันในลักษณะนี้ค่ะเอาง่ายใช่ไหมล่ะคะเอาล่ะค่ะเราลองมานำขั้นตอนวิธีการหาห.ร.ม.ของยูคลิด(euclid)ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันกันเลยค่ะสถานการณ์นะคะถ้าเราต้องการแบ่งกลุ่มนักเรียนชั-้นปีที่1จำนวน221และนักเรียนชั้นมัธยมปีที่2จำนวน247คนโดยต้องการแบ่งกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมพัฒนานวัตกรรมด้านไอทีโดยมีเงื่อนไขว่าทุกกลุ่มจะต้องมีจำนวนนักเรียนเท่ากันและเราจะสามารถแบ่งกลุ่มตามเงื่อนไขดังกล่าวโดยให้แต่ละกลุ่มมีจำนวนสมาชิกมากที่สุดได้กี่คนคะเอาล่ะค่ะไปดู฿เฉลยกันเลยค่ะค่ะจากคลิปนะคะนักเรียนก็ได้รู้จักขั้นตอนวิธีซึ่งเป็นวิธีแบบหนึ่งของแนวคิดเชิงคำนวณที่จะช่วยให้เราแก้ปัญหาเป็นลำดับขั้นตอนมากขึ้นนะคะเรียนจบแล้วก็อย่าลืมทำใบกิจกรรมกันนะคะลองใช้ขั้นตอนการหาห.ร.ม.ของeuclidหาห.ร.ม.ของตัวเลข2ชุดนี้กันดูนะคะ[เสียงดนตรี][เสียงดนตรี]

More information
- compare(ans and test) :
- ans: file reference
- test: file test
- export datetime : 2024-04-02 19:34:20
- exported from : Accuracy Worker
- version :registry.rtt.in.th/spinsoft-transcription/backend_accuracy_worker:main-42d874d90e320e04ce26da7eb329f0d888006afc
- lib :character
- your normalize config
-IsFilter :true
-ToLower :true
-ToArabicNumber :true
-WordToNumber :true
-OrderAndSimilar :true
-ListRemove :
- alignment method :NeedlemanWunsch
- score weight :{"Match":2,"Mismatch":-1,"PartialMatch":1,"GapPenalty":-1}